The Single Best Strategy To Use For การแสดงพื้นเมือง

               หนังตะลุงเป็นมหรสพที่นิยมแพร่หลายอย่างยิ่งมาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในยุคสมัยก่อนที่จะมีไฟฟ้าใช้กันทั่วถึงทุกหมู่บ้านอย่างในปัจจุบัน หนังตะลุงแสดงได้ทั้งในงานบุญและงานศพ ดังนั้นงานวัด งานศพ หรืองานเฉลิมฉลองที่สำคัญจึงมักมีหนังตะลุงมาแสดงให้ชมด้วยเสมอ

ดังนั้น นาฏศิลป์พื้นเมืองของภาคเหนือ นอกจากมีของที่เป็น “คนเมือง” แท้ๆ แล้วยังมีนาฏศิลป์ที่ผสมกลมกลืนกับชนชาติต่างๆ และของชนเผ่าต่างๆ อีกหลายอย่าง เช่น อิทธิพลจากพม่า เช่น ฟ้อนม่านมงคล ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา นาฏศิลป์ของชนเผ่าต่างๆ เช่น ฟ้อนนก(กิงกาหล่า – ไทยใหญ่) ฟ้อนเงี้ยว (เงี้ยว) ระบำเก็บใบชา(ชาวไทยภูเขา)เป็นต้น

❗️สินค้าซื้อแล้วไม่รับเปลี่ยน เว้นแต่ความผิดร้าน

การแสดงพื้นเมืองของไทย แบ่งออกเป็นภาคต่าง ๆ ได้ดังนี้

เครื่องดนตรีประกอบการแสดง ได้แก่ ไวโอลิน แมนตาลิน ขลุ่ย รำมะนา ฆ้อง มาลากัส 

ฟ้อนเงี้ยว เป็นการฟ้อนที่ได้รับอิทธิพลมาจากการฟ้อนของเงี้ยวหรือไทยใหญ่ ประกอบด้วย ช่างฟ้อนหญิงชายหลายคู่ แต่งกายด้วยชุดพื้นเมืองไทยใหญ่ การฟ้อนเงี้ยวเหมาะสำหรับผู้ชาย แต่ต่อมาเพื่อให้เกิดความสวยงาม จึงมีการใช้ผู้หญิงล้วน หรือใช้ทั้งชายและหญิงแสดงเป็นคู่ๆ มีลีลาการฟ้อนที่แปลกแตกต่างไปจากฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน การแต่งกาย จะเลียนแบบการแต่งกายของชาวไทยใหญ่ โดยมีการดัดแปลงเครื่องแต่งกายออกไปบ้าง โดยใส่เสื้อคอกลมแขนกระบอก นุ่งโสร่งสั้นเพียงเข่า หรือกางเกงขากว้างๆ หรือบ้างก็นุ่งโสร่งเป็นแบบโจงกระเบนก็มี ใช้ผ้าโพกศีรษะ มีผ้าคาดเอว ใส่เครื่องประดับ เช่น กำไลมือ กำไลเท้า สร้อยคอ และใส่ตุ้มหู

ระบำชุดนี้วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช ได้นำเอาศิลปะการทอผ้าของชาวภาคใต้มารวบรวมเป็นระบำ โดยเริ่มตั้งแต่การฟอกไหม การตากไหม การกรอไหม ตลอดจนขั้นตอนสุดท้ายคือ การทอผ้า

อีกทั้งเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมและอนุรักษ์ สืบทอดอาชีพหัตถกรรมพื้นบ้านที่ทรงคุณค่าในภูมิปัญญาของท้องถิ่น โดยใช้นาฏศิลป์เป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย

เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เพื่อให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้เรียนรู้และ

การประดิษฐ์ท่ารำที่พบหลักฐานนำมาใช้ในละคร เรื่อง พระลอ พระราชนิพนธ์ของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ตอนพระลอลงสรงในแม่น้ำกาหลง ท่ารำได้ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยเค้าท่าฟ้อนของภาคเหนือและภาคอีสานเป็นแบบอย่าง และดัดแปลงให้เหมาะสมกลมกลืนกับทำนองเพลง การฟ้อนลาวแพนในละครเรื่องพระลอเป็นการฟ้อนเดี่ยว ต่อมาจึงมีผู้นำเอาไปใช้ในการฟ้อนหมู่ โดยเอาท่าฟ้อนเดี่ยวมาดัดแปลงเพิ่มเติมแก้ไขให้เหมาะสมกับการรำหลาย ๆ คน ปัจจุบันการฟ้อนลาวแพนมีทั้งการแสดงที่เป็นหญิงล้วนและชายหญิง บางโอกาสยังเพิ่มเติมแต่งบทร้องประกอบการแสดงได้อีกด้วย

การแต่งกาย แบบดั้งเดิมจะแต่งกายเลียนแบบเครื่องทรงของกษัตริย์ ประกอบด้วย เทริด (ชฎา) สังวาล ปีกนกแอ่น หางหงส์ การแสดงพื้นเมือง ทับทรวง สนับเพลา ชาวไหว ผ้าห้อยข้าง กำไลต้นแขน กำไลข้อมือ และสวมเล็บยาวไม่สวมเสื้อ เทริดจะสวมเฉพาะตัวนายโรงหรือโนราใหญ่เท่านั้น ส่วนนายพรานจะสวมหน้ากากเปิดคาง หน้ากากสีแดงสำหรับใช้ "ออกพราน" ส่วนหน้ากากพรานสีขาว จะใช้สำหรับนายพรานทาสี ตามความเชื่อและพิธีกรรมในการแสดง ถือว่าเป็นหน้าศักดิ์สิทธิ์ 

มาเที่ยวราชบุรี ไม่แวะชมโรงงานโอ่ง เหมือนมาไม่ถึง แนะนำให้แวะ โรงงานทำโอ่ง เถ้า ฮง ไถ่ ที่นี่ถือได้ว่าเป็นโรงงานผลิตเครื่องปั้นดินเผา ที่เก่าแก่คู่เมืองราชบุรี ด้านในจัดตรงทางเข้าโรงงาน จัดเป็นสวนและมีโอ่งเล็กใหญ่ ถ้วยโถรูปร่างแปลกตา เรียงรายไว้ดูสวยงามแปลกตา เพราะว่ามีการคละสีสันที่สวยงาม ทำให้กลายเป็นจุดถ่ายภาพให้กับนักท่องเที่ยว

พิธีกรรมการดึงครกดึงสาก เป็นพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับฝนฟ้า ซึ่งมักจะประกอบพิธีในช่วงปลายฤดูแล้ง เพื่อเป็นการเสี่ยงทายว่าในปีที่ทำการเสี่ยงทายนั้นจะมีปริมาณน้ำฝนมากน้อย พอเพียงต่อการทำนาหรือไม่ การประกอบพิธีกรรมการดึงครกดึงสากจะต้องมีอุปกรณ์ คือ ครกมอง สากตำข้าว และเชือกเพื่อผูกสากตำข้าวในการดึงเสี่ยงทาย โดยจะมีผู้ดึงฝ่ายชายด้านหนึ่งและฝ่ายหญิงอีกด้านหนึ่ง และจะมีขจ้ำหรือผู้ติดต่อวิญญาณเป็นผู้ตั้งครกไว้ตรงกลางหมู่บ้าน และเมื่อขจ้ำทำพิธีป่าวสักเคหรือพิธีการอัญเชิญเทวดา ก็จะบอกให้ผู้ร่วมพิธีดึงเชือกที่ผูกสากตำข้าว(ลักษณะเหมือนกับการดึงชักเย่อ) หากสากตำข้าวแตะที่ขอบครกด้านใด ถือว่าด้านนั้นเป็นผู้ชนะและจะทำนายตามผลที่จะออกมานั้น เช่น ในปีนั้นได้กำหนดว่า ถ้าฝ่ายชายชนะ ถือว่าปีนั้นน้ำท่าจะไม่บริบูรณ์ ถ้าฝ่ายหญิงชนะก็แปลว่าน้ำท่าในการทำนาจะบริบูรณ์ดี เป็นต้น

ส่วนระนาดโปงลางที่ใช้เป็นดนตรีปัจจุบันนี้ พบมากที่จังหวัดกาฬสินธุ์ เรียกว่า “ขอลอ” หรือ “เกาะลอ” ดังเพลงล้อสำหรับเด็กว่า “หัวโปก กระโหลกแขวนคอ ตีขอลอดังไปหม่องๆ” ชื่อ “ขอลอ” ไม่ค่อยไพเราะจึงมีคนตั้งชื่อใหม่ว่า “โปงลาง” และนิยมเรียกกันมาจนถึงปัจจุบัน ไม้ที่นำมาทำเป็นโปงลางที่นิยมกันได้แก่ ไม้มะหาด และไม้หมากเหลื่อม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *